http://thaicursor.blogspot.com  getcode

วันพุธที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

วิธีการ config AccessPoint D-link DIR-600


วิธีการconfig AccessPoint D-link DIR-600

1. จัดการเสียบสาย Power เข้ากับตัว Wireless Access Point

2. เสียบสาย LAN เพื่อเชื่อมต่อระหว่าง Wireless Access Point กับเครื่องคอมพิวเตอร์
3. เปิด Web Browser ขึ้นมา จากนั้นก็พิมพ์ 192.168.1.1 ลงในช่อง Address กด Enter
4. หลังจากนั้นก็จะมี Windows เล็กๆโผล่ขึ้นมา ถาม Username และ password จะตั้งค่า Username เป็น admin แต่ไม่มี password โดยการป้อน admin ไปในช่อง Username แล้วก็คลิ๊กปุ่ม OK

วันอาทิตย์ที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2553

การสร้างภาพต่างๆจากPhotoshopCs5


ภาพสีน้ำ

ขั้นตอนการทำภาพให้เป็นเหมือนสีน้ำ

1.เลือกรูปมาเป็นอันดับแรก

2.จากนั้นไปที่ Filter+Artistic+Watercolor

3.ปรับระดับตามความต้องการให้ออกมาดูดี



ภาพรุ้งกินน้ำ

ขั้นตอนการใส่รุ้งกินนำในภาพที่ต้องการ

1.เลือกภาพ

2.สร้าง Layer ขึ้นมา

3.จากนั้นไปที่เครื่องมือ Gradient Tool

4.แล้วไปเลือกสีลูกเล่นที่ Special Effects เลือกสีคล้ายรุ้ง

5.แล้วนำมาลากใส่ Layer ที่สร้างไว้

6.จัดวางตามต้องการปรับOpacity ให้จาง


ภาพสายฟ้า


ขั้นตอนการทำสายฟ้า


1.เลือกรูปที่ต้องการ

2.สร้างหน้ากระดาษให้เป็น International Paper

3.ทำ Background ให้เป็น Layer0

4.เปลี่ยนจาก Nomal เป็น Screen

5.แล้วไปที่เครื่องมือ Gradient Tool เปลี่ยนสีให้เป็น ขาว-ดำ

6.ลากลงใน Papre ให้เป็นขาว-ดำ

7.จากนั้นไปที่ Filter-Render-Difference clouds

8.กด Ctrl+L ปรับ Input Levels ให้เป็น 208-0.40

9.กด Ctrl+I ให้เป็นรูปสายฟ้า ลากไปใส่รูปที่เลือกไว้

10.จากนั้นกด Ctrl+U เพื่อปรับสี คลิกที่ Colorize ปรับตกแต่งสีตามต้องการ



ภาพเบลอ


ขั้นตอนการทำภาพข้างหลังให้เบลอ

1.เลือกรูปที่ต้องการจะทำการเบลอ
2.กด ctrl+J เพื่อเพิ่ม Layer
3.จากนั้นไปที่ Fiter>Blur>Gaussian Blur

4.ปรับระดับความเบลอของรูปที่ต้องการ

5.จะกดที่ Add Vector Mask เพื่อเพิ่ม Layer ซ้อนขึ้นมา

6.แล้วไปที่เครื่องมือ Brush Tool เพื่อจะทำให้ภาพที่เราไม่ต้องการเบลอชัดขึ้น

7.โดยปรับเปลี่ยนสีให้เป็น สีดำ-ขาว

8.จากนั้นก็ทำการ Brush ตรงที่เราไม่ต้องการเบลอ

9.ก็จะได้ภาพเบลอด้านหลังภาพ Save ภาพเป็น JPGE




ภาพโลโม่


ขั้นตอนการทำภาพโลโม้


1.เลือกภาพที่ต้องการ

2.สร้าง Background ขึ้นมาอีกหนึ่ง โดยคลิกขวาที่ Background คลิกที่ Dvplicate

3.เปลี่ยนจาก Nomal เป็น Soft Light

4.สร้าง layer ขึ้นมาเปลี่ยน feather เป็น 30px ไปที่เครื่องมือ Rectargvlar Marquee Tool

5.ลากใส่รูปให้เป็นคล้ายกรอบรูป

6.คลิกขวา Select Inverse ใช้เครื่องมือ Paint Bucket Tool เพื่อเติมสีเลือกเป็นสีดำ-ขาว

7.จากนั้นกด ctrl-j เพื่อ copy layer เปลี่ยน Nomal ให้เป็น Overley ทั้งสอง

8.สร้าง layer ขึ้นมาอีกไปที่เครื่องมือ Gradient tool เป็นสีให้เป็นสีขาวหมด

9.แล้วลากเพื่อทำเป็นคล้ายๆแสงสว่าง แล้วเลื่อน layer นั้นมาใส่ระหว่างกลางของสอง layer ก่อนหน้า




ภาพตัดต่อรูปหน้า

ขั้นตอนการตัดต่อใบหน้า


1.เลือกรูปที่จะตัดต่อ รูปภาพของตนเองที่คล้ายกันกับรูปที่จะนำไปใส่

2.ตัดต่อใบหน้าของตนเองด้วยเครื่องมือ Magnetic Lasso Tool แล้วนำไปใส่ Layer ที่สร้างไว้

3.แต่งภาพให้เนียนใช้เครื่องมือ Eraser Tool ลบส่วนเกินที่ไม่ต้องการออกจัดแต่งใบหน้าให้เข้ากัน

4. จากนั้นใช้เครื่องมือ Blur Tool ที่คล้ายหยอดน้ำช่วยทำให้รูปดูดีขึ้นทำให้ภาพเนียน

5.ปรับความสว่างโดยไปที่ Adjustments – Brightness/Contrast ให้ดูสว่างขึ้น

6.แล้วปรับสีให้คมชัด ไปที่ Adjustments – Color Balance ปรับให้กลมกลืนกับสีผิว

7.ถ้าต้องการดูดสีของสีผิวไปใส่ใบหน้า หรือสีของใบหน้าให้เหมือนกับสีผิวโดยการใช้เครื่องมือ Color Replacement Tool แล้วกด Alt แช่ไว้แล้วดูดสี

8.จากนั้นก็นำไปใส่ใบหน้าหรือสีผิว

9.ถ้าต้องการทำให้ใบหน้าดูสว่างขึ้น ใช้เครื่องมือ Dodge Tool

10.ต้องการให้ภาพดูคมเข้มขึ้น ใช้เครื่องมือ Burn Tool

11.ปรับตกแต่งให้ดูดีแล้ว Save



ภาพซ้อน

ขั้นตอนการทำภาพซ้อน


1.เลือกรูปที่ต้องการจะทำการซ้อน

2.ลากรูปที่ 2 มาซ้อนที่ Backgroud เดียวกัน

3.จากนั้นไปที่ Layer+Layer Mask+Reveal All

4.แล้วไปที่เครื่องมือ Gradient Tool เลือกสีขาวดำ

5.แล้วลากเพื่อจะให้ภาพได้ซ้อนกันตามต้องการ




ภาพฉีกขาด



วิธีการทำภาพให้ฉีกขาด


1.เลือกภาพที่ต้องการจะฉีก
2.ใช้เครื่องมือ Lasso Tool ตัดฉีกแบ่งครึ่ง
3.สร้าง Untitled ขึ้นมาใหม่แล้วลากภาพที่ตัดไปใส่
4.จากนั้นภาพอีกครึ่งก็ลากตามไปใส่

5.จัดตกแต่งให้เหมือนภาพที่ฉีกขาดแล้ว
6.ก็จะได้ภาพที่ฉีกขาด



ภาพก้อนเมฆ

ขั้นตอนการสร้างภาพก้อนเมฆ

1.เข้า File/New ตั้งกระดาษเปล่า

2.เปลี่ยนสี Color Box สีฟ้า

3.เข้าแถบเครื่องมือการเทสีเลือกGradient Tool Gคลิกแถบเครื่องมือตัวอย่างสีเลือกReset Gradients OK

4.ลากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งตามที่เราต้องการ

5.เปลี่ยน Background ให้เป็น Layer 0

6.สร้าง Layer 1 ขึ้นมา

7.เปลี่ยนสี Color Box เปลี่ยนสีดำ,ขาว

8.เข้า Filter/Render เลือก Clouds

9.เข้า Filter/Render เลือก Difference Clouds

10.กด Ctrl+F

11.กด Ctrl+ L เปลี่ยน ช่องแรก 30,1.00,100 กด OK

12.คลิกขวา Layer 1 เลือก Duplicate Layer กด OK

13.เข้า Filter/Stylize เลือก Extrude ตั้งค่าช่องแรก 2,30 คลิก Level-based กด OK

14.เปลี่ยน Normal เป็น Screen ทั้ง 2 Layer

15.เข้า Filter/Blur เลือก Gaussian Blur ตั้งเป็น 1.9 กด OK

16.เข้าแถบเครื่องมือด้านซ้ายตัวที่ 8 พู่กัน คลิกขวาเลือก Eraser Tool E คลิกแถบเครื่องมือด้านบนช่อง 2 เปลี่ยนเป็น 9 pixel และเปลี่ยน Flow 10% แล้วคลิกตรงขอบก้อนเมฆ

17.เข้า Filter/Blur เลือก Gaussian Blur ตั้งเป็น 7 กด OK

18.แล้วเราก็ลากรูปมาใส่ เปลี่ยน Normal เป็น Screen



ภาพ 3 มิติ


ขั้นตอนการทำภาพ 3 มิติ


1.เลือกรูปที่ต้องการ

2.ตัดภาพของเราที่ต้องการจะนำไปใส่ภาพ

3 มิติ3.จากนั้นสร้างหน้ากระดาษขนาดตามที่ต้องการ

4.แล้วไปเลือกสีที่ต้องการจากนั้นไปที่Filter+Render+Clouds

5.จากนั้นก็ไปที่Filter+Stylize+Extrudeเพื่อปรับภาพ 3มิติ

6.แล้วนำภาพที่ตัดไว้ลากมาใส่



ภาพจิ๊กซอ


ขั้นตอนการทำภาพจิ๊กซอ


1.เลือกภาพที่จะนำมาทำเป็นจิ๊กซอให้เป็นฺ Back ground

2.กด ctrl+J เพื่อเพิ่ม Layer

3.ไปที่ Styles เลือกลูกเล่นที่ Puzzle (Image) เพื่อให้ภาพเป็นจิ๊กซอ

4.จากนั้นไปปรับภาพให้เป็น 50% ไปที่ Opacity

5.แล้วไปดับเบิ้ลคลิกที่ Back ground ที่เราแต่ง

6.มันจะขึ้นเป็น Layer Style

7.ให้ไปคลิกที่ Texture ไปปรับที่ Scale และ Depth ตามความเหมาะสมของรูป

8.ก็จะได้ภาพเป็นจิ๊กซอ Save ภาพเป็น JPGE


ภาพไฮไลท์


ขั้นตอนการทำไฮไลท์สีผม


1.เลือกภาพที่ต้องการจะไฮไลท์สีผม


2.สร้าง Layer ขึ้นมาอีกหนึ่ง


3.จากนั้นใช้เครื่องมือ Polygonal Lasso Tool เพื่อทำการไฮไลท์


4.จัดลากให้เป็นทรงแล้วเติมสีด้วยเครื่องมือ Paint Bucket Tool


5.ไปที่ Filter > Blur > Gaussian Blur แล้วปรับค่า Radus ตามความเหมาะสมสวยงาม


6.เสร็จสมบูรณ์ไฮไลท์สีผม

วันอังคารที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2553

การแปลงรูปถ่ายธรามดาให้เป็นรูปวาด

ขั้นตอนที่ 1. เปิดรูปที่เราต้องการขึ้นมา




ขั้นตอนที่ 2. คัดลอกLayer มาอีกLayerหนึ่ง โดยการกด Ctrl+J






ขั้นตอนที่ 3. คลิ๊ก Filter>>Stylize>>Find Edge





ขั้นตอนที่ 4. ปรับค่าตามความเหมาะสม



ขั้นตอนที่ 5. ไปที่ Filter>>Blur>>Gaussian Blur...




ขั้นตอนที่ 6. ปรับค่า Radius ที่ค่า2




จะได้รูปวาดที่สวยงาม









วันจันทร์ที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2553

Creative Thinking (การคิดเชิงสร้างสรรค์)

ความคิดสร้างสรรค์

การสร้างสรรค์คือ การทำให้เกิดบางสิ่งบางอย่างขึ้นมา ซึ่งบางสิ่งนั้นไม่เคยทีอยู่มาก่อน ทั้งผลผลิตอันหนึ่ง หรือกระบวนการอันหนึ่งหรือ
ความคิด-ไอเดียอันหนึ่ง

การประดิษฐ์คิดค้นสิ่งที่ไม่เคยมีอยู่มามาก่อนให้มีขึ้นมา การประดิษฐ์สิ่งซึ่งมีอยู่ใน ณ ที่ไหนที่ใดสักแห่งหนึ่งแต่เราไม่รู้ว่ามีมันอยู่แล้ว การคิดค้นกระบวนการใหม่อันหนึ่งขึ้นมาเพื่อกระทำบางสิ่งบางอย่าง การประยุกต์กระบวนการที่มีอยู่ หรือผลิตภัณฑ์ที่มีอยู่แล้วเข้าสู่ความต้องการอีกครั้ง การพัฒนาวิธีการใหม่อันหนึ่งเกี่ยวกับการมองไปยังบางสิ่งบางอย่าง การนำมาซึ่งไอเดียหรือความคิดใหม่ ทำให้มันดำรงอยู่ หรือมีอยู่ขึ้นมาเปลี่ยนแปลงวิธีการมองของใครคนใดคนหนึ่งที่มองบางสิ่งบางอย่างไป
การสร้างสรรค์ไม่จำเป็นต้องยิ่งใหญ่ถึงขนาดการพัฒนาบางสิ่งบางอย่างขึ้นมาให้กับโลก แต่มันอาจจะเกี่ยวข้องกับพัฒนาการบางสิ่งบางอย่างให้ใหม่ขึ้นมาเล็กๆน้อยๆเพื่อตัวของเราเอง เมื่อเราเปลี่ยนแปลงตัวของเราเอง โลกก็จะเปลี่ยนแปลงไปพร้อมกันกับเรา ทั้งการที่โลกได้รับผลกระทบโดยการกระทำที่เป็นการเปลี่ยนแปลงของเรา และในวิถีแห่งการเปลี่ยนแปลงที่เราได้มีประสบการณ์กับโลก

ความคิดสร้างสรรค์ คือ กระบวนการคิดของสมองซึ่งมีความสามารถในการคิดได้หลากหลายและแปลกใหม่จากเดิม โดยสามารถนำไปประยุกต์ทฤษฎี หรือหลักการได้อย่างรอบคอบและมีความถูกต้อง จนนำไปสู่การคิดค้นและสร้างสิ่งประดิษฐ์ที่แปลกใหม่หรือรูปแบบความคิดใหม่ นอกจากลักษณะการคิดสร้างสรรค์ดังกล่าวนี้แล้ว ยังมีสามารถมองความคิดสร้างสรรค์ในหลาย ซึ่งอาจจะมองในแง่ที่เป็นกระบวนการคิดมากกว่าเนื้อหาการคิด โดยที่สามารถใช้ลักษณะการคิดสร้างสรรค์ในมิติที่กว้างขึ้น เช่นการมีความคิดสร้างสรรค์ในการทำงาน การเรียน หรือกิจกรรมที่ต้องอาศัยความคิดสร้างสรรค์ด้วย อย่างเช่น การทดลองทางวิทยาศาสตร์ หรือการเล่นกีฬาที่ต้องสร้างสรรค์รูปแบบเกมให้หลากหลายไม่ซ้ำแบบเดิม เพื่อไม่ให้คู่ต่อสู่รู้ทัน เป็นต้น ซึ่งอาจกล่าวได้ว่าเป็นลักษณะการคิดสร้างสรรค์ในเชิงวิชาการ แต่อย่างไรก็ตาม ลักษณะการคิดสร้างสรรค์ต่างๆ ที่กล่าวนั้นต่างก็อยู่บนพื้นฐานของความคิดสร้างสรรค์ โดยที่บุคคลสามารถเชื่อมโยงนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ดี
ความคิดสร้างสรรค์เป็นกระบวนการอันหนึ่ง ซึ่งเราใช้เมื่อเรามีไอเดียใหม่ๆ มันเป็นการผสมผสานเของไอเดีย หรือความคิดต่างๆซึ่งไม่เคยผสมรวมตัวกันมาก่อน คือการระดมสมอง(brainstorming) เป็นรูปแบบหนึ่งของความคิดสร้างสรรค์ มันทำงานโดยการรวบรวมไอเดียต่างๆที่กระทำออกมาโดยใครบางคน ผสมรวมกันกับของเราเพื่อสรรค์สร้างไอเดียใหม่อันหนึ่ง
ความคิดสร้างสรรค์มักจะเกิดขึ้นมาโดยบังเอิญ ความบังเอิญหรือโอกาสที่เกิดขึ้น ทำให้เราคิดถึงบางสิ่งบางอย่างในหนทางที่แตกต่าง และเราได้ค้นพบการเปลี่ยนแปลงที่เป็นประโยชน์ ความเปลี่ยนแปลงบางอย่างมันเกิดขึ้นมาอย่างช้าๆโดยผ่านการใช้ความคิดสติปัญญาอันบริสุทธิ์และความก้าวหน้าเชิงตรรก การอาศัยความก้าวหน้าโดยความบังเอิญหรือในเชิงตรรก หลายครั้ง ต้องใช้เวลานานมากสำหรับการผลิตเพื่อพัฒนาหรือปรับปรุง

ความคิดสร้างสรรค์จึงสามารถนำไปใช้ประโยชน์กับการผลิตสินค้า การสร้างสิ่งประดิษฐ์ใหม่ๆ กระบวนการที่คิดขึ้นมา และการบริการที่ดีขึ้น คาดหวังกันว่า การสร้างสรรค์นั้นจะช่วยเราในหลายๆด้าน เช่น องค์กรของเราดีขึ้น ลูกค้า หรือคนที่รับบริการจากเรามีความสุขมากขึ้น โดยผ่านการปรับปรุงขึ้นมาใหม่นี้ในด้านคุณภาพและปริมาณที่ผลิตออกมา



การใช้เทคนิควิธีพิเศษ ความคิดสร้างสรรค์อันละเอียดอ่อนประณีตสามารถถูกนำมาใช้ได้เพื่อพัฒนาไอเดียใหม่ๆ เทคนิคดังกล่าวจะช่วยทำให้ หรือไปบังคับให้เกิดลำดับการณ์อันกว้างขวางของการผสมผสานไอเดีย เพื่อจุดประกายความคิดใหม่ๆและกระบวนการใหม่ๆ การระดมสมองเป็นหนึ่งในเทคนิคพิเศษเหล่านี้ แต่ตามขนบประเพณี แล้ว มันจะเริ่มต้นด้วยไอเดียที่ไม่ธรรมดา(start with un-original ideas)

เทคนิคความคิดสร้างสรรค์
ไอเดียใหม่ๆเกิดขึ้นมา เมื่อมีไอเดียตั้งแต่สองไอเดียขึ้นไปบังเอิญหรือตั้งใจให้มันมาผสมกัน อย่างที่มันไม่เคยรวมตัวกันมาก่อน เทคนิคการใช้ความคิดสร้างสรรค์จะเป็นการจัดหาวิธีการเพื่อรวมไอเดียทั้งหลายเข้าด้วยกันอย่างประณีต ซึ่งตามปกติ เราไม่เคยคิดข้ามไอเดียพวกนั้นมาก่อนหรือคิดถึงมันว่าจะเป็นไปได้ แต่อย่างไรก็ตาม ความยุ่งยากประการแรกที่เกิดขึ้นมาก็คือ จะหาทางให้ไอเดียนั้นๆผสมกันได้อย่างไร และข้อยุ่งยากประการที่สองคือจะพัฒนาไอเดียใหม่นั้นให้มันใช้การได้ได้อย่างไร

เทคนิคการได้มาซึ่งความคิดสร้างสรรค์

Random Word (การสุ่มคำ)

Random Picture (การสุ่มด้วยภาพ)

False Rules (กฎเกณฑ์ที่ผิดพลาด)

Random Website (การสุ่มเวบไซท์)

Scamper (กระโดดโลดเต้น หรือการเล่น)

Search & Reapply (ค้นหาและลองประยุกต์ใหม่)

Challenge Facts (ท้าทายข้อเท็จจริง)

Escape (หลบหนี หลบเลี่ยง)

Analogy (การอุปมาอุปมัย)

Wishful Thinking (ความคิดให้สมปรารถนา)

Thesaurus (ใช้พจนานุกรมศัพท์คำพ้อง)

วันอังคารที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2553

ปากกาแปลภาษา

เครื่องแปลภาษา (Electronic Dictionary) สุดจ็าบ ที่คุณไม่ควรมองข้ามในยุคสังคมภูมิปัญญา
(English-Thai, English-English)
(อังกฤษ-ไทย, อังกฤษ-อังกฤษ)




คุณสมบัติของปากกาแปลภาษา

1. สแกนคำภาษาอังกฤษที่อยู่ในรูปตัวพิมพ์ และแปลทันทีทางหน้าจอ
2. อ่านออกเสียงคำศัพท์หรือประโยคที่ถูกสแกนได้ (Built in Text-to-Speech technology )
3. มีระบบการ input คำศัพท์ที่นอกเหนือจากการสแกนได้เช่นการใช้งาน Opticard และ Text Editor
4. จดจำคำศัพท์ที่สแกนไว้ 80 คำล่าสุด เพื่อง่ายต่อการทบทวน
5. ปรับโหมดการใช้งานได้สำหรับผู้ใช้ที่ถนัดมือขวา หรือถนัดมือซ้าย
6. การรับรู้ตัวอักษรภาษาอังกฤษ (English OCR) มีความแม่นยำถึง 97%* (*บนพื้นฐานของรูปแบบและขนาดตัวอักษรตามมาตรฐาน)
7. เพิ่ม ! ฟังค์ชั่นการจดบันทึก ใช้เป็นเครื่องสแกนข้อความภาษาอังกฤษเก็บเข้าปากกา จากนั้นถ่ายโอนข้อมูลผ่านสัญญาณอิฟราเรด เข้าอุปกรณ์ที่มีพอร์ตอินฟราเรด เช่น Notebook, PDA




ข้อดี

ปากกาแปลภาษา ใช้ง่าย! แค่จับปากกาและสแกนตรงข้อความภาษาอังกฤษ สแกนปุ๊บแปลเป็นไทยปั๊บ ไม่ต้องเสียเวลาเปิดดิก หรือพิมพ์ข้อความให้ยุ่งยากอีกต่อไปสะดวกสุดๆ

สามารถแปลได้หลายแบบ อังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ, อังกฤษ-อังกฤษ และภาษาอื่นๆ

ประโยชน์หลักๆ

1. เพิ่มความต่อเนื่องในการอ่านบทความภาษาอังกฤษ เช่นจาก นิตยสาร ตำราเรียน หนังสือพิมพ์ นวนิยาย พ็อกเกตบุ๊ค หรือสื่อสิ่งพิมพ์อื่นๆ
2. ช่วยให้คุณหรือลูกหลานของคุณรักการอ่านภาษาอังกฤษมากยิ่งขึ้น
3. ใช้งานควบคู่กับการอ่านหนังสือ ได้สะดวกในทุกอิริยาบถ
4. เหมาะที่จะมีไว้ประจำที่ทำงานหรือที่บ้านสำหรับทุกๆคน





วันพฤหัสบดีที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2553

เพราะเราคู่กัน<กรรม>











แก้ไขงาน (เพราะเราคู่กรรม)




วันพฤหัสบดีที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2553

Web Site

เว็บไซต์ (Web Site) คือ แหล่งที่เก็บรวบรวมข้อมูลเอกสารและสื่อประสมต่าง ๆ เช่น ภาพ เสียง ข้อความ ของแต่ละบริษัทหรือหน่วยงานโดยเรียกเอกสารต่าง ๆ เหล่านี้ว่า เว็บเพจ (Web Page) และเรียกเว็บหน้าแรกของแต่ละเว็บไซต์ว่า โฮมเพจ (Home Page) หรืออาจกล่าวได้ว่า เว็บไซต์ก็คือเว็บเพจอย่างน้อยสองหน้าที่มีลิงก์ (Links) ถึงกัน ตามหลักคำว่า เว็บไซต์จะใช้สำหรับผู้ที่มีคอมพิวเตอร์แบบเซิร์ฟเวอร์หรือจดทะเบียนเป็นของตนเองเรียบร้อยแล้วเช่น www.google.co.th ซึ่งเป็นเว็บไซต์ที่ให้บริการสืบค้นข้อมูลเป็นต้น




สรุป เว็บไซต์ คือ ชื่อเรียกหรือที่อยู่ของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริการ
เว็บเพจ คือ หน้าแต่ละหน้าที่มีการเชื่อมโยงถึงกัน
โฮมเพจ คือ หน้าแรกที่เข้าสู่เว็บไซต์นั้น ๆ




ส่วนประกอบของเว็บเพจที่สำคัญ มีดังนี้
1. ข้อความ (Text) ได้แก่ ตัวอักษร ตัวเลข ซึ่งอาจเป็นภาษาอังกฤษ ไทย หรือภาษา อื่น ๆ ก็ได้
2. กราฟิก (Graphics) ได้แก่ ภาพวาดและรูปภาพต่าง ๆ
3. มัลติมีเดีย (Multimedia) ได้แก่ ภาพเคลื่อนไหว ภาพวีดิทัศน์ เสียง
4. ลิงก์ (Link) ข้อความหรือรูปภาพที่มีลักษณะพิเศษ ซึ่งสามารถเชื่อมโยงไปยัง เว็บเพจอื่น ๆ ได้ เราสามารถตรวจสอบได้ว่าส่วนใดเป็นลิงก์โดยนำเมาส์ไปนี้สัญลักษณ์เมาส์จะเปลี่ยนเป็นมือ ? แสดงว่าส่วนนั้นเป็นลิงก์

credit : http://school.obec.go.th/kudhuachang/les07.htm


เว็บไซต์ (website, web site, Web site) หมายถึงหน้าเว็บเพจหลายหน้า ซึ่งเชื่อมโยงกันผ่านทางไฮเปอร์ลิงก์ ส่วนใหญ่จัดทำขึ้นเพื่อนำเสนอข้อมูลผ่านคอมพิวเตอร์ โดยถูกจัดเก็บไว้ในเวิลด์ไวด์เว็บ หน้าแรกของเว็บไซต์ที่เก็บไว้ที่ชื่อหลักจะเรียกว่า โฮมเพจ เว็บไซต์ โดยทั่วไป จะให้บริการต่อผู้ใช้ฟรี แต่ในขณะเดียวกันบางเว็บไซต์จำเป็นต้องมีการสมัครสมาชิกและเสียค่าบริการเพื่อที่จะดูข้อมูลในเว็บไซต์นั้น ซึ่งได้แก่ข้อมูลทางวิชาการ ข้อมูลตลาดหลักทรัพย์หรือข้อมูลสื่อต่างๆ ผู้ทำเว็บไซต์มีหลากหลายระดับ ตั้งแต่สร้างเว็บไซต์ส่วนตัว จนถึงระดับเว็บไซต์สำหรับธุรกิจหรือองค์กรต่างๆ การเรียกดูเว็บไซต์โดยทั่วไปนิยมเรียกดูผ่านซอฟต์แวร์ในลักษณะของเว็บเบราว์เซอร์ เว็บไซต์แห่งแรกของโลก สร้างขึ้นเมื่อ 30 เมษายน พ.ศ.2536 โดยวิศวกรของเซิร์น

credit:http://www.esarndesign.com/index.php?option=com_content&view=article&id=5:2009-09-17-03-46-27&catid=2:knowledge&Itemid=10


เว็บไซต์ (Website) หมายถึง แหล่งความรู้หรือข้อมูลข่าวสารที่ถูกเก็บไว้บนระบบ เน็ตเวิร์ก (Network) ออนไลน์ (Online) ที่เรียกว่า อินเตอร์เน็ต (Internet) ไม่ว่าคุณจะอยู่ที่ไดบนโลกนี้ถ้า คอมพิวเตอร์ (Computer) ของคุณได้ถูกเชื่อมต่อไว้กับระบบอินเตอร์เน็ต คุณก็สามารถที่จะเข้าชมเว็บไซต์ผ่านทาง ซอฟต์แวร์ (Software) ที่เรียกว่า เว็บบาวเซอร์ (Web Browser) เราจะเรียกเว็บแต่ละเว็บว่า โฮมเพจ (Homepage) และจะเข้าโฮมเพจผ่านทาง เวิลด์ไวด์เว็บ (World Wide Web, WWW, W3) เช่นการจะเข้าเว็บไซต์ จ๊ะจ๋า ดอท คอม เราก็จะพิมพ์ www.jajar.com ในช่อง address แล้วกด Enter เพื่อเข้าสู่เว็บไซต์ และเรียกชื่อดังกล่าวว่า URL หรือชื่อของเว็บนั่นเอง เราสามารถเรียกเว็บไซต์ได้หลายแบบ ที่มักพบในภาษาไทย เช่น เว็บไซต์ เว็บไซด์ เวปไซต์ เวปไซด์ เว็บ เวป เว็บเพจ ซึ่งมีความหมายเดียวกัน และที่ใช้ในภาษาอังกฤษ เช่น Website, Web Site, Web, Web Page และในปัจจุบันนี้เชื่อว่าหลายๆ ท่านคงจะเคยเล่นเว็บไซต์เป็นแน่ บทความที่ท่านกำลังอ่านออนไลน์ ผ่านหน้าจออยู่นี่แหละครับที่เรียกว่าเว็บไซต์

credit:http://website.jajar.com/


สรุป

web site คือเอกสารที่อยู่ใน Internet ส่วนใหญ่จะอยู่ใน HTML

Web Services

Web Services คือ
Application หรือ program ที่ทำงานอย่างใดอย่างหนึ่ง ในลักษณะให้บริการ โดยจะถูกเรียกใช้งานจาก application อื่นๆ ในรูปแบบ RPC (Remote Procedure Call) ซึ่งการให้บริการจะมีเอกสารที่อธิบายคุณสมบัติของบริการกำกับไว้ โดยภาษาที่ถูกใช้เป็นสื่อในการแลกเปลี่ยนคือ XML ทำให้เราสามารถเรียกใช้ component ใด ๆ ก็ได้ ใน platform ใด ๆ ก็ได้ บน protocol HTTP ซึ่งเป็น protocol สำหรับ World Wide Web อันเป็นช่องทางที่ได้รับการยอมรับทั่วโลกในการติดต่อสื่อสารกันระหว่าง application กับapplication ในปัจจุบัน
Web Service ช่วยให้การเข้าถึงข้อมูลสารสนเทศจากแอพพลิเคชันที่ต่างกันเป็นไปโดยง่าย โดยแอพพลิเคชันนั้นๆ สามารถเขียนด้วย Java และรันอยู่บน Sun Solaris Application Server หรืออาจจะเขียนด้วย C++ และรันอยู่บน Windows NT หรืออาจะเขียนด้วย Perl และรันอยู่บนเครื่อง Linux ซึ่งมาตรฐานของ Web Service ทำให้อินเทอร์เฟซของแอพพลิเคชันเหล่านี้ ถูกอธิบายโดย WSDL และทำให้อยู่ในมาตรฐานของ UDDI หลังจากนั้น จึงสามารถติดต่อสื่อสารถึงกันโดย XML ผ่าน SOAP อินเตอร์เฟซ
Web Service สามารถถูกเรียกใช้ภายในองค์กรเองหรือจากภายนอกองค์กร โดยผ่านไฟร์วอล์ ดังนั้นจึงมีองค์กรใหญ่ๆ มากมาย กำลังพัฒนาระบบที่มีอยู่ของตน ให้เข้ากับ Web Service ซึ่งนับเป็นการลงทุนที่คุ้มค่า เนื่องจาก Web Service สามารถเพิ่มศักยภาพในการทำงานขององค์กร อีกทั้งลดค่าใช้จ่ายในการจัดการทรัพยากรขององค์กรได้อีกทางหนึ่ง
นอกจากนั้น Web Service ยังสามารถใช้ร่วมกับ Web Application โดยส่งผ่านข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตได้อีกด้วยซึ่งนับเป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพในการติดต่อสื่อสารกับลูกค้าหรือหุ้นส่วน ถึงแม้จะต้องคำนึงถึงระบบรักษาความปลอดภัย และการจัดการรายการของข้อมูลอยู่ก็ตาม แต่ Web Service ได้ใช้มาตรฐานทั่วไปของ internet เรื่องดังกล่าวจึงนับเป็นเรื่องธรรมดาของการสื่อสารผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์

Credit : http://office.cpu.ac.th/bba1/file/07-webservice.doc



เว็บเซอวิส คือ Web Application ยุคใหม่ ที่ประกอบด้วยส่วนย่อยๆมีความสมบูรณ์ในตัวเอง สามารถติดตั้ง ค้นหา เริ่มทำงานได้ผ่านเว็บ Web Service สามารถทำอะไรก็ได้ตั้งแต่งานง่ายๆ เช่นดึงข้อมูล จนถึงกระบวนการทางธุรกิจที่ซับซ้อน เมื่อ ว็บเซอวิส คือ Web Application ยุคใหม่ ที่ประกอบด้วยส่วนย่อยๆมีความสมบูรณ์ในตัวเอง สามารถติดตั้ง ค้นหา เริ่มทำงานได้ผ่านเว็บ Web Service สามารถทำอะไรก็ได้ตั้งแต่งานง่ายๆ เช่นดึงข้อมูล จนถึงกระบวนการทางธุรกิจที่ซับซ้อน เมื่อ Web Service ตัวใดตัวหนึ่งเริ่มทำงาน Web Service ตัวอื่นก็สามารถรับรู้และเริ่มทำงานได้อีกด้วย หลายคนอาจจะถามว่าทำไมต้องเป็น Web เพราะเรามี Middle Ware อื่นๆมากมายเช่น RMI Jini CORBA DCOM ฯลฯ แม้ Middle Ware เหล่านี้จะสามารถรองรับได้ แต่ไม่มีตัวใดตัวหนึ่งที่เด่นจริง แต่ในเมื่อ Web มีจุดเด่นในเรื่องของการให้บริการข้อมูลที่สะดวก ใช้งานง่าย จึงกลายเป็นตัวประสาน Middle Ware ต่างๆ เข้าด้วยกันซึ่งจะให้คุยกันเองคงยากยิ่ง Web ทำหน้าที่เป็นตัวกลางให้ Middle Ware เหล่านี้สามารถคุยกันได้ และมีประสิทธิภาพกว่าวิธีการเดิมๆ มาก หากเรามองจากกรณีของ n-tier application จะพบว่า web service คือกลไกในการเข้าถึงบริการที่แต่ละ Middle Ware ให้บริการ การเข้าถึงจะอาศัย Listener และส่วนประกอบที่ระบุถึงบริการต่างๆ ที่รองรับการทำงาน โดยการทำงานจริงๆ นั้นก็ใช้วิธีการปกติของ Middle Ware นั้นๆ พื้นฐานของ Web Service พื้นฐานของ ว็บเซอวิส คือ Web Application ยุคใหม่ ที่ประกอบด้วยส่วนย่อยๆมีความสมบูรณ์ในตัวเอง สามารถติดตั้ง ค้นหา เริ่มทำงานได้ผ่านเว็บ Web Service สามารถทำอะไรก็ได้ตั้งแต่งานง่ายๆ เช่นดึงข้อมูล จนถึงกระบวนการทางธุรกิจที่ซับซ้อน เมื่อ Web Service ตัวใดตัวหนึ่งเริ่มทำงาน Web Service ตัวอื่นก็สามารถรับรู้และเริ่มทำงานได้อีกด้วย หลายคนอาจจะถามว่าทำไมต้องเป็น Web เพราะเรามี Middle Ware อื่นๆมากมายเช่น RMI Jini CORBA DCOM ฯลฯ แม้ Middle Ware เหล่านี้จะสามารถรองรับได้ แต่ไม่มีตัวใดตัวหนึ่งที่เด่นจริง แต่ในเมื่อ Web มีจุดเด่นในเรื่องของการให้บริการข้อมูลที่สะดวก ใช้งานง่าย จึงกลายเป็นตัวประสาน Middle Ware ต่างๆ เข้าด้วยกันซึ่งจะให้คุยกันเองคงยากยิ่ง Web ทำหน้าที่เป็นตัวกลางให้ Middle Ware เหล่านี้สามารถคุยกันได้ และมีประสิทธิภาพกว่าวิธีการเดิมๆ มาก หากเรามองจากกรณีของ n-tier application จะพบว่า web service คือกลไกในการเข้าถึงบริการที่แต่ละ Middle Ware ให้บริการ การเข้าถึงจะอาศัย Listener และส่วนประกอบที่ระบุถึงบริการต่างๆ ที่รองรับการทำงาน โดยการทำงานจริงๆ นั้นก็ใช้วิธีการปกติของ Middle Ware นั้นๆ พื้นฐานของ Web Service พื้นฐานของ Web Service ก็คือ XML กับ HTTP ซึ่งจะพบว่า HTTP ก็เป็นที่รู้จักกันดี และไปได้ทั่วทุกแห่งที่มี interner ส่วน XML คือภาษาสากลที่คุณสามารถปรับแต่งได้ตามใจชอบ เพื่อให้เกิดกิจกรรมระว่าง client และบริการ หรือระหว่างส่วนประกอบต่างๆ เบื้องหลัง Web server ก็คือ ข้อความ XML จะถูกแปลงให้การขอบริการจาก Middle ware และผลที่ได้ก็จะแปลงกลับมาในรูป XML ยกตัวอย่างให้เห็นง่ายๆ คุณต้องการให้เครื่อง PC อ่านค่าจาก serial port แล้วส่งไปประมวลผลบนเครื่อง UNIX แล้วส่งผลกลับมาแสดงบนจอ PC ถ้าเป็นเมื่อก่อน คุณก็คงต้องแปลงข้อมูลที่ได้ให้อยู่ในรูปของ ASCII แล้วส่งไปยัง UNIX พร้อมคำสั่งว่าให้ทำอะไร ในฝั่ง UNIX คุณก็ต้องมาแยกว่าอันไหนคือคำสั่ง อันไหนคือข้อมูล เมื่อประมวลผลแล้ว จะส่งกลับมาในรูปแบบไหน แล้วถ้าหากจะส่งไปหาเครื่องที่เป็น MAC ท่านจะต้องเขียนโปรแกรมเพิ่มในส่วนไหนบ้าง จะพบว่าเราต้องพัฒนากันเป็นคู่ๆ ไป และต้องนิยามในแต่ละฝั่งให้ชัดเจน แต่หากเป็น Web Service คุณจะพบว่า เราแปลงข้อมูลให้อยู่ในรูป XML แต่ละคุณก็ต้องการรู้แค่ มาตรฐาน XML ก็พอ แล้วต่างคนต่างก็เขียน Service ของตัวเอง ไม่ต้องกังวลเรื่องของการเชื่อมโยงอีกต่อไป และ Protocol ที่ส่งก็คือ HTTP นั่นเอง ถ้าท่านเชื่อมโยงกับ HTTP (หรือเว็บ) ได้ ท่านก็ใช้บริการทุกอย่างได แต่เดี๋ยวก่อนการเข้าถึงและการสั่งงานนั้นยังเป็นเพียงโครงสร้างพื้นฐาน แต่ในความเป็นจริงยังมีอะไรมากกว่านั้น เช่น การค้นหา การทำธุรกรรม ความปลอดภัย การพิสูจน์ตัวตน และอื่นๆ อันเป็นบริการที่ทำให้เป็นบริการพื้นฐานจริงๆ ระบบเพิ่มเติมที่ต้องมีและต้องรักษาความสะดวกและใช้งานง่ายไว้ด้วย พื้นฐานของ Web Service เต็มรูปแบบคือ XML + HTTP + SOAP + WSDL + UDDI หรือในระดับสูงกว่านั้น แต่ไม่ได้ถือเป็นสิ่งจำเป็นเสมอไปคือต้องเพิ่มเทคโนโลยี XAML, XLANG, XKMS, XFS เป็นต้น ต่อไปนี้คือรายละเอียดคร่าวๆ ของแต่ละส่วน แต่ควรตระหนักว่าแต่ละส่วนอาจจะยังเป็นเทคโนโลยี ที่กำลังอยู่ระหว่างพัฒนา ดังนั้นในแต่ละปัญหาอาจจะแก้ได้หลายวิธีด้วยกัน SOAP (Remote Invocation) สั่งงานจากระยะไกล UDDI บริการ Directory WSDL ระบุคุณสมบัติของแต่ละบริการ XLANG/XAML กรณีของการเชื่อมโยงที่ซับซ้อน หลายๆ เว็บ XKMS (XML Key Management Specification) ระหว่างการพัฒนา (Microsoft + Verisign)ก็คือ XML กับ HTTP ซึ่งจะพบว่า HTTP ก็เป็นที่รู้จักกันดี และไปได้ทั่วทุกแห่งที่มี interner ส่วน XML คือภาษาสากลที่คุณสามารถปรับแต่งได้ตามใจชอบ เพื่อให้เกิดกิจกรรมระว่าง client และบริการ หรือระหว่างส่วนประกอบต่างๆ เบื้องหลัง Web server ก็คือ ข้อความ XML จะถูกแปลงให้การขอบริการจาก Middle ware และผลที่ได้ก็จะแปลงกลับมาในรูป XML ยกตัวอย่างให้เห็นง่ายๆ คุณต้องการให้เครื่อง PC อ่านค่าจาก serial port แล้วส่งไปประมวลผลบนเครื่อง UNIX แล้วส่งผลกลับมาแสดงบนจอ PC ถ้าเป็นเมื่อก่อน คุณก็คงต้องแปลงข้อมูลที่ได้ให้อยู่ในรูปของ ASCII แล้วส่งไปยัง UNIX พร้อมคำสั่งว่าให้ทำอะไร ในฝั่ง UNIX คุณก็ต้องมาแยกว่าอันไหนคือคำสั่ง อันไหนคือข้อมูล เมื่อประมวลผลแล้ว จะส่งกลับมาในรูปแบบไหน แล้วถ้าหากจะส่งไปหาเครื่องที่เป็น MAC ท่านจะต้องเขียนโปรแกรมเพิ่มในส่วนไหนบ้าง จะพบว่าเราต้องพัฒนากันเป็นคู่ๆ ไป และต้องนิยามในแต่ละฝั่งให้ชัดเจน แต่หากเป็น Web Service คุณจะพบว่า เราแปลงข้อมูลให้อยู่ในรูป XML แต่ละคุณก็ต้องการรู้แค่ มาตรฐาน XML ก็พอ แล้วต่างคนต่างก็เขียน Service ของตัวเอง ไม่ต้องกังวลเรื่องของการเชื่อมโยงอีกต่อไป และ Protocol ที่ส่งก็คือ HTTP นั่นเอง ถ้าท่านเชื่อมโยงกับ HTTP (หรือเว็บ) ได้ ท่านก็ใช้บริการทุกอย่างได แต่เดี๋ยวก่อนการเข้าถึงและการสั่งงานนั้นยังเป็นเพียงโครงสร้างพื้นฐาน แต่ในความเป็นจริงยังมีอะไรมากกว่านั้น เช่น การค้นหา การทำธุรกรรม ความปลอดภัย การพิสูจน์ตัวตน และอื่นๆ อันเป็นบริการที่ทำให้เป็นบริการพื้นฐานจริงๆ ระบบเพิ่มเติมที่ต้องมีและต้องรักษาความสะดวกและใช้งานง่ายไว้ด้วย พื้นฐานของ Web Service เต็มรูปแบบคือ XML + HTTP + SOAP + WSDL + UDDI หรือในระดับสูงกว่านั้น แต่ไม่ได้ถือเป็นสิ่งจำเป็นเสมอไปคือต้องเพิ่มเทคโนโลยี XAML, XLANG, XKMS, XFS เป็นต้น ต่อไปนี้คือรายละเอียดคร่าวๆ ของแต่ละส่วน แต่ควรตระหนักว่าแต่ละส่วนอาจจะยังเป็นเทคโนโลยี ที่กำลังอยู่ระหว่างพัฒนา ดังนั้นในแต่ละปัญหาอาจจะแก้ได้หลายวิธีด้วยกัน SOAP (Remote Invocation) สั่งงานจากระยะไกล UDDI บริการ Directory WSDL ระบุคุณสมบัติของแต่ละบริการ XLANG/XAML กรณีของการเชื่อมโยงที่ซับซ้อน หลายๆ เว็บ XKMS (XML Key Management Specification) ระหว่างการพัฒนา (Microsoft + Verisign)ตัวใดตัวหนึ่งเริ่มทำงาน Web Service ตัวอื่นก็สามารถรับรู้และเริ่มทำงานได้อีกด้วย หลายคนอาจจะถามว่าทำไมต้องเป็น Web เพราะเรามี Middle Ware อื่นๆมากมายเช่น RMI Jini CORBA DCOM ฯลฯ แม้ Middle Ware เหล่านี้จะสามารถรองรับได้ แต่ไม่มีตัวใดตัวหนึ่งที่เด่นจริง แต่ในเมื่อ Web มีจุดเด่นในเรื่องของการให้บริการข้อมูลที่สะดวก ใช้งานง่าย จึงกลายเป็นตัวประสาน Middle Ware ต่างๆ เข้าด้วยกันซึ่งจะให้คุยกันเองคงยากยิ่ง Web ทำหน้าที่เป็นตัวกลางให้ Middle Ware เหล่านี้สามารถคุยกันได้ และมีประสิทธิภาพกว่าวิธีการเดิมๆ มาก หากเรามองจากกรณีของ n-tier application จะพบว่า web service คือกลไกในการเข้าถึงบริการที่แต่ละ Middle Ware ให้บริการ การเข้าถึงจะอาศัย Listener และส่วนประกอบที่ระบุถึงบริการต่างๆ ที่รองรับการทำงาน โดยการทำงานจริงๆ นั้นก็ใช้วิธีการปกติของ Middle Ware นั้นๆ พื้นฐานของ Web Service พื้นฐานของ Web Service ก็คือ XML กับ HTTP ซึ่งจะพบว่า HTTP ก็เป็นที่รู้จักกันดี และไปได้ทั่วทุกแห่งที่มี interner ส่วน XML คือภาษาสากลที่คุณสามารถปรับแต่งได้ตามใจชอบ เพื่อให้เกิดกิจกรรมระว่าง client และบริการ หรือระหว่างส่วนประกอบต่างๆ เบื้องหลัง Web server ก็คือ ข้อความ XML จะถูกแปลงให้การขอบริการจาก Middle ware และผลที่ได้ก็จะแปลงกลับมาในรูป XML ยกตัวอย่างให้เห็นง่ายๆ คุณต้องการให้เครื่อง PC อ่านค่าจาก serial port แล้วส่งไปประมวลผลบนเครื่อง UNIX แล้วส่งผลกลับมาแสดงบนจอ PC ถ้าเป็นเมื่อก่อน คุณก็คงต้องแปลงข้อมูลที่ได้ให้อยู่ในรูปของ ASCII แล้วส่งไปยัง UNIX พร้อมคำสั่งว่าให้ทำอะไร ในฝั่ง UNIX คุณก็ต้องมาแยกว่าอันไหนคือคำสั่ง อันไหนคือข้อมูล เมื่อประมวลผลแล้ว จะส่งกลับมาในรูปแบบไหน แล้วถ้าหากจะส่งไปหาเครื่องที่เป็น MAC ท่านจะต้องเขียนโปรแกรมเพิ่มในส่วนไหนบ้าง จะพบว่าเราต้องพัฒนากันเป็นคู่ๆ ไป และต้องนิยามในแต่ละฝั่งให้ชัดเจน แต่หากเป็น Web Service คุณจะพบว่า เราแปลงข้อมูลให้อยู่ในรูป XML แต่ละคุณก็ต้องการรู้แค่ มาตรฐาน XML ก็พอ แล้วต่างคนต่างก็เขียน Service ของตัวเอง ไม่ต้องกังวลเรื่องของการเชื่อมโยงอีกต่อไป และ Protocol ที่ส่งก็คือ HTTP นั่นเอง ถ้าท่านเชื่อมโยงกับ HTTP (หรือเว็บ) ได้ ท่านก็ใช้บริการทุกอย่างได แต่เดี๋ยวก่อนการเข้าถึงและการสั่งงานนั้นยังเป็นเพียงโครงสร้างพื้นฐาน แต่ในความเป็นจริงยังมีอะไรมากกว่านั้น เช่น การค้นหา การทำธุรกรรม ความปลอดภัย การพิสูจน์ตัวตน และอื่นๆ อันเป็นบริการที่ทำให้เป็นบริการพื้นฐานจริงๆ ระบบเพิ่มเติมที่ต้องมีและต้องรักษาความสะดวกและใช้งานง่ายไว้ด้วย พื้นฐานของ Web Service เต็มรูปแบบคือ XML + HTTP + SOAP + WSDL + UDDI หรือในระดับสูงกว่านั้น แต่ไม่ได้ถือเป็นสิ่งจำเป็นเสมอไปคือต้องเพิ่มเทคโนโลยี XAML, XLANG, XKMS, XFS เป็นต้น ต่อไปนี้คือรายละเอียดคร่าวๆ ของแต่ละส่วน แต่ควรตระหนักว่าแต่ละส่วนอาจจะยังเป็นเทคโนโลยี ที่กำลังอยู่ระหว่างพัฒนา ดังนั้นในแต่ละปัญหาอาจจะแก้ได้หลายวิธีด้วยกัน SOAP (Remote Invocation) สั่งงานจากระยะไกล UDDI บริการ Directory WSDL ระบุคุณสมบัติของแต่ละบริการ XLANG/XAML กรณีของการเชื่อมโยงที่ซับซ้อน หลายๆ เว็บ XKMS (XML Key Management Specification) ระหว่างการพัฒนา (Microsoft + Verisign)
Credit : http://www.thaixml.com/essentials/webs.htm


เว็บเซอร์วิส มาตรฐานที่ใช้งาน เว็บเซอร์วิส (Web service) คือระบบซอฟต์แวร์ที่ออกแบบมา เพื่อสนับสนุนการแลกเปลี่ยนข้อมูลกัน ระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ผ่านระบบเครือข่าย โดยที่ภาษาที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ คือเอกซ์เอ็มแอล เว็บเซอร์วิสมีอินเทอร์เฟส ที่ใช้อธิบายรูปแบบข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์ประมวลผลได้ เช่น WSDL ระบบคอมพิวเตอร์ใช้งานสื่อสารโต้ตอบกับเว็บเซอร์วิสตามรูปแบบที่ได้กำหนดไว้แล้ว โดยการส่งสาสน์ตามอินเตอร์เฟสของเว็บเซอร์วิสนั้น โดยที่สาสน์ดังกล่าวอาจแนบไว้ในซอง SOAP หรือส่งตามอินเตอร์เฟสในแนวทางของ REST สาสน์เหล่านี้ปกติแล้วถูกส่งโดยอาศัย HTTP และใช้ XML ร่วมกับมาตรฐานเกี่ยวกับเว็บอื่นๆ โปรแกรมประยุกต์ที่เขียนโดยภาษาต่างๆ และทำงานบนแพลตฟอร์มต่างๆกันสามารถใช้เว็บเซอร์วิสเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลผ่านทางเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เช่น อินเทอร์เน็ต ในลักษณะเดียวกับการสื่อสารระหว่างโปรเซส (Inter-process communication) บนเครื่องเดียวกัน ความสามารถในการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างระบบที่ต่างกันนี้ (เช่น การแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่าง โปรแกรมที่เขียนโดยภาษาจาวา และโปรแกรมที่เขียนโดยภาษาไพทอน หรือการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างโปรแกรมประยุกต์ที่ทำงานบนไมโครซอฟท์วินโดวส์และโปรแกรมประยุกต์ที่ทำงานบนลินุกซ์) เกิดขึ้นได้เนื่องจากการใช้มาตรฐานเปิด โดย OASIS และ W3C เป็นคณะกรรมการหลักในการรับผิดชอบมาตรฐานและสถาปัตยกรรมของเว็บเซอร์วิส
credit http://th.wikipedia.org/wiki/เว็บเซอร์วิส

สรุป
web serviece เป็นเว็บที่ใช้แลกเปลี่ยนผ่านทาง Network เช่น Internet ได้






วันพุธที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2553


คุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์
1. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายหรือละเมิดผู้อื่น
2. ไม่รบกวนการทำงานของผู้อื่น
3. ไม่สอดแนมหรือแก้ไขเปิดดูในแฟ้มของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการโจรกรรมข้อมูลข่าวสาร
5. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์สร้างหลักฐานที่เป็นเท็จ
6. ไม่คัดลอกโปรแกรมผู้อื่นที่มีลิขสิทธิ์
7. ไม่ละเมิดการใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์โดยที่ตนเองไม่มีสิทธิ์
8. ไม่นำเอาผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. ต้องคำนึงถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นกับสังคมอันติดตามมาจากการกระทำ
10. ใช้คอมพิวเตอร์โดยเคารพกฎระเบียบ กติกามารยาท
11. ไม่ทำความเสียหายให้กับคอมพิวเตอร์ที่ป็นของสาธารณะ
12. ควรดูแลและบำรุงรักษาอย่างสม่ำเสมอ
13. ไม่ทำความเสียหายแก่คอมพิวเตอร์สาธารณะ
14. ใช้ให้คุ้มค่ามากที่สุดและเป็นประโยชน์ต่อตนเอง
15. ไม่สร้างโปรแกรมที่ก่อกวนการทำงานของผู้อื่น
เขียนโดย ศิรสิทธิ์ ที่ 0:07
ป้ายกำกับ:
http://sw07086.blogspot.com/2009/02/blog-post.html

วันจันทร์ที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2553

Web Design and Development


This is not written by a professional lawyer or anyone close to one. It is written by a typically business owner of a successful web development company who has no law degree or the budget to hire a lawyer to write a web development contract. Howeverthey are in need of a contract agreement that will assure a project will be well outlined for both the client and the developer as to what the expectations are of the entire project.I must write a disclaimer that this proven web development agreement is purely based on experience and knowledge of the web design and development industry. Others may write these contracts and agreements differently. This article is written to help others who wish to know how to begin to write a 10 step web design and development agreement. So enough saidlet’s get down to the 10 steps:


แปล Web Design and Development
นี้ไม่ได้เขียนโดยทนายความมืออาชีพหรือใกล้ชิดคนหนึ่ง เป็นที่เขียนโดยเจ้าของธุรกิจปกติของ บริษัท พัฒนาเว็บไซต์ที่ประสบความสำเร็จที่มีปริญญากฎหมายหรือไม่มีงบประมาณในการจ้างทนายความเพื่อเขียนสัญญาการพัฒนาเว็บ Howeverthey อยู่ในความต้องการของข้อตกลงสัญญาว่าจะมั่นใจโครงการจะอธิบายได้ดีทั้งลูกค้าและนักพัฒนาเป็นสิ่งที่คาดหวังเป็นของ project.I ทั้งต้องเขียนข้อตกลงที่เว็บนี้พิสูจน์แล้วว่าการพัฒนาเป็นไปตามหมดจดบน อุตสาหกรรมประสบการณ์และความรู้ในการออกแบบเว็บและการพัฒนา อื่น ๆ อาจเขียนสัญญาและข้อตกลงเหล่านี้แตกต่างกัน บทความนี้เขียนขึ้นเพื่อช่วยผู้อื่นที่ต้องการทราบวิธีการเริ่มเขียนออกแบบเว็บและการพัฒนาขั้นตอน 10 ข้อตกลง ดังนั้นพอ saidlet ของลงไป 10 ขั้นตอน